Page 19 - E-MAGAZINE_VOL_44
P. 19

I - Health | กองบรรณาธิการ






          ไขมัน
                 ผู้สูงอายุจะต้องการพลังงานจากไขมันเพียงเล็กน้อยเท่านั้น
          ผู้สูงอายุจึงควรหลีกเลี่ยงอาหารที่มีไขมันจากสัตว์ หรืออาหารที่มีไขมันสูง
 10 สารอาหารส�าคัญต่อผู้สูงอายุ   เช่น อาหารที่มีกะทิ เนย และน�้ามันที่เข้มข้น เนื่องจากอาจท�าให้
          น�้าหนักตัวเพิ่มขึ้นและยังย่อยยาก ใช้เวลานานกว่าจะย่อยหมด


          แคลเซียม
                 เป็นตัวช่วยป้องกันโรคกระดูกพรุนและสร้างมวลกระดูก
          ให้หนาแน่นขึ้น และอาหารที่เป็นแหล่งแคลเซียม ได้แก่ ปลาเล็กปลาน้อย
          (ที่กินได้ทั้งกระดูก) กุ้งแห้ง รวมถึงผลิตภัณฑ์จากถั่วเหลืองและผักใบเขียว
          เช่น นมถั่วเหลือง ฟองเต้าหู้ เต้าหู้อ่อน ผักคะน้า กวางตุ้ง ต�าลึง รวมถึง
          ผักสีส้ม เช่น แครอท เป็นต้น




















    ไม่ว่าจะวัยไหน ร่างกายก็ต้องการสารอาหารที่ครบถ้วนและจ�าเป็นส�าหรับร่างกาย โดยเฉพาะผู้สูงอายุที่นับวันร่างกายก็
 ยิ่งโรยรา เพื่อให้มีสุขภาพร่างกายที่ดีและแข็งแรง ผู้สูงอายุจ�าเป็นต้องได้รับสารอาหารให้เพียงพอกับการท�างานของระบบต่างๆ
 ภายในร่างกาย จึงท�าให้การดูแลตัวเองนั้นน้อยลง วันนี้น้อง I-ITEL จึงน�าเกร็ดความรู้เล็กๆน้อยๆ มาฝากผู้อ่านทุกท่านว่า
 มีสารอาหารชนิดใดบ้างที่ส�าคัญต่อผู้สูงอายุและอย่าลืมน�าไปดูแลคนที่คุณรักกันนะครับ
          ธาตุเหล็ก                                           วิตามินบี12
 โปรตีน          ผู้สูงอายุเมื่อได้รับปริมาณโปรตีนต�่า ก็ท�าให้ได้รับธาตุเหล็ก     หากผู้สูงอายุรับประทานเนื้อสัตว์น้อยเกินน้อยหรือมีปัญหา
    ช่วยซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอ และรักษามวลกล้ามเนื้อให้แข็งแรง  ต�่าไปด้วยเมื่อได้รับธาตุเหล็กไม่เพียงพอประสิทธิภาพของการดูดซึม  การดูดซึมจากกระเพราอาหารอาจเกิดจากการขาดวิตามินบี12
 ทั้งยังช่วยป้องกันการเกิดภาวะกล้ามเนื้อลีบ ผู้สูงอายุจึงจ�าเป็นที่จะต้อง  จึงลดลง อาจท�าให้เกิดภาวะซีด โลหิตจางและเหนื่อยง่าย อาหารที่มี  และอาหารที่มักพบวิตามินบี12 ได้แก่ เนื้อสัตว์ทุกชนิด ไข่ทั้งฟอง
 ได้รับโปรตีนประมาณ 1 กรัม/น�้าหนักตัว(กิโลกรัม)/วัน ซึ่งอาหาร  ธาตุเหล็กสูง ได้แก่ เนื้อสัตว์สีแดง ตับ รวมถึงผักใบเขียว เช่น กะหล�่าปลี  ปลา โยเกิร์ต เนยแข็ง และนม ซึ่งหากขาดวิตามินบี12 เป็นเวลานาน
 ที่ให้โปรตีนที่มีคุณภาพสูง ได้แก่ เนื้อสัตว์ที่ไม่ติดมัน  เนื้อปลา ไข่  ดอกกะหล�่า ถั่วเขียว ถั่วแดง งาด�า เป็นต้น  อาจมีความเสี่ยงต่อภาวะความจ�าเสื่อมได้
 นมพร่องมันเนยและผลิตภัณฑ์ที่ท�าจากถั่วเหลืองต่างๆ เช่น น�้าเต้าหู้
 และน�้านมถั่วเหลือง เป็นต้น  วิตามินซี                       แมกนีเซียม
                 ส่วนใหญ่มักพบได้ในผักและผลไม้ ซึ่งวิตามินซี เป็นตัวช่วย     เป็นแร่ธาตุที่ส�าคัญต่อระบบการท�างานภายในของร่างกาย
 คาร์โบไฮเดรต   การดูดซึมธาตุเหล็กจากอาหาร และอาหารที่ให้วิตามินซีสูง ได้แก่   อยู่หลายระบบ เช่น ระบบประสาท หัวใจ กระดูก และภูมิคุ้มกัน
    เป็นสารอาหารที่ให้พลังงานกับร่างกาย เพราะผู้สูงอายุควร  ฝรั่ง ส้ม มะละกอ มะม่วง บร็อคโคลี่ พริกหวาน ผักโขม มันฝรั่ง  ซึ่งมักพบธาตุอาหารเหล่านี้ได้ในเนื้อปลา ผักใบเขียว กล้วย และถั่วต่างๆ
 รับประทานอาหารกลุ่มนี้เพื่อรักษาน�้าตัวให้อยู่ในเกณฑ์ ต้องค�านึง
 ถึงคุณภาพของคาร์โบไฮเดรต จึงควรเลือกรับประทานคาร์โบไฮเดรต  โพแทสเซียม  สังกะสี
 เชิงซ้อน เช่น รับประทานข้าวและแป้งที่ไม่ผ่านการขัดสี ข้าวกล้อง      ช่วยรักษาระดับความดันโลหิตและรักษาสมดุลของเหลว     เมื่ออายุมากขึ้น การดูดซึมสังกะสีจะน้อยลง ซึ่งสังกะสี
 ธัญพืช ลูกเดือย ขนมปังโฮลวีท  ในร่างกายให้อยู่ในเกณฑ์ปกติและเหมาะสม รวมถึงช่วยให้ระบบกล้ามเนื้อ  จะช่วยให้ภูมิคุ้มกันในร่างกายมีประภาพเพิ่มขึ้น มักพบได้ในอาหาร
          และระบบประสาทท�างานอย่างมีประสิทธิภาพ อาหารที่มีโพสแทสเซียม  ประเภท เนื้อสัตว์ อาหารทะเลและไข่
          ได้แก่ กล้วย ส้ม ฝรั่ง มะเขือเทศ ผักโขม ข้าวโอ๊ต ข้าวซ้อมมือ เป็นต้น
                                                              ที่มา: https://www.bumrungrad.com/th/health-blog



 16 |  I-TEL                                                                                          I-TEL |        17
   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24